ช่วงหลายเดือนที่ผ่านมามี นักลงทุนให้ความสนใจ เรื่อง Volume กันมากขึ้น และมีหลักสูตร สอนเกี่ยวกับ Volume ให้เลือกเรียนกัน เยอะเลย ...ดีครับ ... จะได้มีความรู้กันมากขึ้น แต่การดู Volume เทียบกับ ราคา ก็ไม่ง่าย เพราะไม่มี Pattern ของ Volume ที่ชัดเจน แบบ Price Pattern
การดู Volume จึงต้องดูประกอบกับ Price Chart คือ ต้องดูว่า แท่งราคา มี Spread (ความสูงของแท่งราคา) มากหรือน้อย และ ดูว่า Volume ของแท่งนั้น มาก หรือน้อย ซึ่งก็จะทำให้เกิด Combination ของแท่งราคาพร้อม Volume ออกมาเป็นแบบหลักๆ 4 แบบ คือ
1. Price Spread กว้าง - Volume มาก
2. Price Spread กว้าง - Volume น้อย
3. Price Spread แคบ - Volume มาก
4. Price Spread แคบ - Volume น้อย
แต่ใน ทฤษฎีเกี่ยวกับ Volume ไม่ว่าจะเป็นของโบราณ Wyckoff Method ของ Richard Wyckoff หรือ ระบบยุคใหม่ VSA - Volume Spread Analysis ของ Tom Williams หรือเทรดเดอร์ ที่มีชื่อเสียงด้ายการอ่าน Volume ในอดีตที่ผ่านมาอีกมากมาย ก็มักจะ แยก พฤติกรรมของ Price และ Volume ออกมาต่างหาก อีก 2 แบบ คือ Buying Climax และ Selling Climax ที่จะเป็นแท่งราคาที่มี Volume มากมายผิดปกติแตกต่างจาก แท่งราคาอื่นๆ รอบข้าง อย่างเป็นได้ชัด ...
และ แท่งราคา Buying Climax และ Selling Climax นี้ล่ะ ที่จะเป็นแท่งราคาที่จะแสดงให้เราเห็นว่า แรงซื้อ และแรงขาย ของตลาดกำลังจะกลับทิศทางแล้ว
Buying Climax เป็นสภาวะราคาที่ มีการเขาไปไล่ซื้อหุ้นจำนวนมากๆ ของมวลชนในระยะเวลาอันรวดเร็ว และเป็นจุดที่รายใหญ่ จะขายของออกมาให้
Selling Climax จะเจอในบริเวณใกล้จุดต่ำ ที่ราคาใกล้จะกลับตัวเป็นขาขึ้น แรงขายออกจนราคาลงมาลึก เมื่อเกิด Climax จะเป็นแนวราคาที่ รายใหญ่ รับซื้อไม่อั้น สิ่งที่เกิดตามมา คือ หลังจากเกิด Selling Climax ราคาแทบจะหยุดการลงทันที
แต่การดู Volume กับ Price เทียบกันก็เป็นเรื่องไม่ง่าย ต้องใช้การสังเกตุ และการตีความ ด้วยประสบการณ์ ในการเทรดจริง อีก พอสมควร ... ไม่ขอ อธิบาย ตรงนี้เยอะ เดี๋ยวจะผิดประเด็น ของบทความนี้ ... เอาเป็นว่า ... จะดีไหม ถ้าแท่งราคา มันอ้วนได้ ผอมได้ ตาม Volume ที่เกิดขึ้น ของแท่งราคา นั้นๆ ... แท่งนี้ กิน Bid-Offerr เข้าไปเยอะ พุงกาง อ้วนเป็นตุ่ม เลย กับอีกแท่งนึง กิน Bid-Offer เข้าไปน้อยเหลือเกิน ก็จะผอมๆ ...
ด้วยแนวความคิดนี้ Richard W. Arms. Jr. ได้พัฒนา กราฟ EquiVolume ขึ้นมา ซึ่งจะเป็นกราฟราคาที่สามารถแสดง ข้อมูล 2 มิติ ไว้ในแท่งเดียวกัน คือ บอกทั้ง ราคา และ Volume
EquiVolume จะเป็นแท่งราคา สี่เหลี่ยมตันๆ ไม่มีหาง ขอบบนของแท่ง คือ High Price ขอบล่างของแท่ง คือ Low Price ส่วนความกว้างของแท่งราคา บอก Volume แต่จะไม่ได้บอก Volume เป็นตัวเลข แต่จะเป็นการสร้างกราฟ ให้เกิดการเปรียบเทียบขนาด ของ Volume แท่งล่าสุด กับ Volume ที่ผ่านทั้งหมดในอดีตย้อนหลังไป 4 เดือน ในการฟรายวัน Day Chart ก็ประมาณคร่าวๆ ย้อนหลังไป 100 แท่ง แล้วคำนวณ ออกมาเป็น สัดส่วน Volume ของแต่ละแท่ง เทียบกับ Volume ย้อนหลังทั้งหมด แล้ววาดออกมาเป็น แท่งราคาต่างๆ ที่มี ความอ้วนผอมแตกต่างกัน ไป
สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ จะสามารถเห็นกราฟ แล้วเข้าใจได้ ทันทีเลยว่า แท่งราคาไหน มี Volume มาก แท่งไหน Volume น้อย ... (ตามภาพกราฟ ตัวอย่างด้านล่าง)
.
ขอบคุณภาพประกอบสวยๆ จาก StockCharts.com
(http://stockcharts.com/school/doku.php?id=chart_school:chart_analysis:equivolume)
ข้อดี เราเห็นกันไปแล้ว ดังนั้นแท่งราคาไหน ที่มี Volume มากๆ ก็จะมองว่าเป็นแนวรับแนวต้าน สำคัญได้ หรือ เวลาที่ราคา Break Out แล้วแท่งราคาที่ Break อ้วนกว่า ก็แสดงว่า ราคามีพลังมากพอที่จะ Break ทะลุไปได้ หรือ เวลาที่ ราคาวิ่งขึ้น แล้ว พักตัวลงมา ถ้าราคา วิ่งขึ้น อ้วน แต่ตอนพักตัวเล็กผอมๆ ก็อาจจะแค่ พักตัวเพื่อไปต่อ .. แต่ถ้าวิ่งขึ้น อ้วนๆ ถอยก็อ้วนๆ ...ฮึๆ ลงจริง
.
แต่มันก็มีข้อเสีย ก็คือ ...แกน X ของกราฟ ซึ่งเป็นแกนเวลา ก็จะมีความกว้างไม่เท่ากัน เพราะ ขนาดของแท่งราคา ที่อ้วนผอมไม่เท่ากัน ...ดังนั้น ช่วงเวลาที่ หุ้น ไม่มีการซื้อขายกัน แกน X ก็จะแคบ ไปเลย ... และปัญหาที่ตามมาอีกอย่างก็คือ เวลาที่ หุ้นมีการ แตกพาร์ ทำให้จำนวนหุ้นในตลาดมีมากขึ้น Volume ก่อนแตกพาร์ และหลังแตกพาร์ ก็อาจจะใช้เปรียบเทียบกันไม่ได้ ...
EquiVolume Bar มี สองสี คือ เขียว-แดง หรือบางกราฟ อาจจะเป็นสีดำ-แดง เงื่อนไขของสีของแท่งราคา คือ Close Price
Green สีเขียว = Close Price สูงกว่า Close Price ของแท่งก่อนหน้า
Red สีแดง = Close Price ต่ำกว่า Close Price ของแท่งก่อนหน้า
* Close price เท่ากัน บางกราฟ ก็ใช้สีเดียวกับกับ แท่งก่อนหน้า หรือ บางกราฟ ก็ใช้อีกสีเป็นสีที่สาม เช่น สีน้ำเงิน เป็นต้น
แต่จะเห็นว่าใน EquiVolume กราฟ ปกติ ไม่มี Close Price เพราะว่าเป็นแท่งตันๆ บอกแต่ High Price กับ Low Price ดังนั้นจึงมีการพัฒนา รูปแบบการแสดงผล ใส่ Close Price เพิ่มเข้าไป กลายเป็น
Close Price จะแสดงผล ออกมาเป็น ช่องสีขาว เปรียบเสมือนหางของ Candlestick
ถ้าแท่งราคาเป็น สีเขียว ช่องสีขาวจะอยู่ ด้านบน แสดงระยะระหว่าง Close Price กับ High Price .... ถ้า ช่องสีขาว กว้าง แสดงว่า ราคาปิด Close Price ถอยลงมาลึก อาการเหมือนหางด้านบนของ Candlestick ยาว
ถ้าแท่งราคา เป็น สีแดง ช่องสีขาวจะอยู่ ด้านล่าง แสดงระยะระหว่าง Close Price กับ Low Price .... ถ้า ช่องสีขาว กว้าง แสดงว่า ราคาปิด Close Price เด้งขึ้นมาสูง อาการเหมือนหางด้านล่างของ Candlestick ยาว
ในกราฟ บางโปรแกรม ถ้าราคา Close Price เท่ากับ Close Price ของแท่งก่อนหน้า แท่งราคาก็อาจจะเป็น สีน้ำเงิน หรือสีอื่น ส่วน Showdow ช่องสีขาว ก็จะเป็นไปตามแท่งก่อนหน้า ว่าอยู่ด้านล่างหรืออยู่ด้านบน
เแต่เนื่องจาก EquiVolume Shadow เป็นเรื่องใหม่ ยังไม่เป็นที่นิยม และไม่ได้มีมาตรฐาน ในการกำหนดเงื่อนไขไว้ชัดเจน ทำให้ในโปรแกรมกราฟ ต่างๆ อาจจะมีการแสดงผลแตกต่างกันไป .... หรือบางโปรแกรม ก็ไม่มีให้ ใช้
สำหรับ การดูราคาหุ้นในประเทศไทย มีเพียงกราฟของ eFinanceThai ที่สามารถแสดงผลได้ แต่ก็ยังกำหนดค่าแสดงผลของสีแท่งราคา ต่างออกไปจาก ตันฉบับของ Richard Arms อยู่เล็กน้อย
สามารถ ตั้งกราฟ ได้ โดย เข้าไป ที่ Chart Setting แล้วเปลี่ยน Price Style จาก Candlestick ให้เป็น EquiVolumeShadow ... ซึ่งใน Style ยังสามารถเลือก EquiVolume แบบปกติ ที่ไม่มี Close Price ก็ได้ หรือ จะใช้ CandleVolume ที่เป็น แท่ง CandleStick แล้วอ้วนผอม ตามขนาดของ Volume เหมือนเงื่อนไขของ EquiVolume แต่ยังใช้แท่งราคาเป็นแท่ง CandleStick ก็มีให้เลือก ....โปรแกรมฟรี ... มีของเล่นเยอะดีจัง ....
แต่อย่างที่บอกไว้ เงื่อนไข สีของ EquiVolume Shadow ใน eFin ไม่เหมือนต้นฉบับ จากในภาพจะเห็นว่า มี 3 สี คือ Up เขียว , Down แดง และ NoChg น้ำเงิน ..... เงื่อนไขของสีตรงนี้ ยังเป็นการเทียบ Open Price กับ Close Price แบบ แท่ง Candlestick ปกติ คือ
Up = Close price สูงมากกว่า Open Price
Down = Close price ต่ำกว่า Open Price
NoChg = Close กับ Open เท่ากัน
ไม่ได้ เปลี่ยนสี เมื่อเทียบกับ Close price ของแท่งก่อนหน้า อย่างที่ Richard Arms กำหนดไว้
คราวนี้ มาดู ความหมายกันดีกว่า ว่า EquiVolume Shadow อธิบาย อะไร ให้เราเข้าใจ พฤติกรรมของราคากันได้บ้าง
ความสูง ของแท่งราคา (Range) คือ ระยะห่างของ High price กับ Low price บ่งบอกความเร็ว และความผันผวน ของการเคลื่อนที่ของราคา ใน แท่งราคานั้นๆ
ความกว้าง (Wide) คือ สัดส่วนของ Volume บอกปริมาณการซื้อขาย ที่เกิดขึ้นในแท่งราคานั้น เทียบกับ 100 แท่งที่ผ่านมา โดยประมาณ
ดังนั้น จะเกิด รูปทรงของแท่งราคา 4 กลุ่ม ที่จะแสดงพฤติกรรมของ Demand Supply หรือ แรงซื้อ แรงขาย ที่เกิดขึ้นในแท่งราคานั้น
แบบแรก Narrow - Easy Movement
จุดเด่น คือ แท่งราคาจะผอม ส่วนความสูง มาก
แสดงผล ว่า ในแต่ละระดับราคาในแท่งนี้ เกิด Transaction ในการซื้อขาย น้อย มี Volume น้อย แต่ความสูงมาก ราคามีการเคลื่อนที่ได้หลายช่อง
แปลความ คือ เป็นแท่งราคาที่ มีคามผันผวนสูง เปลี่ยนแปลงง่าย ทิศทางไม่ชัดเจน ดังนั้นในแท่งราคาถัดไป ราคาจะขึ้นหรือลงก็ได้
Easy Movement ก็คือ ราคาวิ่งผ่านแท่งราคานี้ได้ง่าย ... บริเวณระดับราคาที่มีแต่แท่งราคาแบบนี้ มากๆ จึงไม่ใช่แนวรับ แนวต้าน
แบบสอง Square - Difficult Movement
จุดเด่น คือ แท่งราคาจะเล็กสั้น ความกว้างน้อยจนถึงปานกลาง ทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส
แสดงผล ว่า เกิด Transaction ในการซื้อขาย น้อย มี Volume น้อย และราคาก็เคลื่อนที่แคบๆ
แปลความ คือ เป็นแท่งราคาที่ไม่ค่อยขยับ จะเกิดในช่วงที่มีการพักตัว หรือ ยังไม่มีทิศทางชัดเจนว่าราคาจะไปทางไหน ... ไม่เกิดการซื้อขาย ราคาจะนิ่งๆ ไม่ผันผวน
ถ้าเกิดต่อจากแท่งราคาที่วิ่งแรง Square Bar ที่เกิดขึ้นจะเป็นสัญญาณของการชะลอตัว
แบบสาม OverSquare
จุดเด่น คือ แท่งราคาจะอ้วนมาก แต่ Range สั้น
แสดงผล ว่า เกิด Transaction ในการซื้อขายมากมาย และราคาเคลื่อนที่แคบๆ
เป็นอาการของ Climax Bar จะพบในการกลับตัวของทิศทางของราคา
OverSquare Bar หลังจากราคาวิ่งขึ้น จะดูดรับแรงซื้อ จนราคาหยุดวิ่งขึ้น
OverSquare Bar หลังจากราคาวิ่งลง จะดูดรับแรงขายหมด จนราคาหยุดลง
แบบสี่ Power
จุดเด่น คือ แท่งราคาจะอ้วนมาก และ Range ยาว
แสดงผล ว่า เกิด Transaction ในการซื้อขายมากมาย และราคาเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว
Power Green Bar ราคาวิ่งขึ้นอย่างรุนแรง ไล่ราคาขึ้น
Power Red Bar ราคาวิ่งลง อย่างแรง ขายทิ้งลงมา
White Shadow ที่เกิดขึ้น จาก Close Price ที่ห่างจาก High price ในแท่งเขียว และ ห่างจาก Low price ในแท่งแดง จะแสดงแรงซื้อขายที่เกิดขึ้นใน แท่งราคานั้น
ถ้า Shadow แคบ หรือ ไม่มีเลย แสดงว่า ราคามี Trend ชัดเจน
ถ้า Shadow กว้าง แสดงว่า ราคา มีอาการ เหวี่ยงตัว Trend อ่อนแรง
ตัวอย่าง ของ EquiVolume Shadow ที่แสดงพฤติกรรมราคาออกมาให้เห็น
KTC 60 min จะเห็นได้ชัดเจน ของพฤติกรรมราคาในแต่ละช่วงที่เกิดขึ้น ... โดยเฉพาะ แท่ง OverSquare สีเขียวที่รับแรงขาย จนราคาหยุดลง และ ค่อยๆ ยกตัวกลับขึ้นมา
แต่ใน ทฤษฎีเกี่ยวกับ Volume ไม่ว่าจะเป็นของโบราณ Wyckoff Method ของ Richard Wyckoff หรือ ระบบยุคใหม่ VSA - Volume Spread Analysis ของ Tom Williams หรือเทรดเดอร์ ที่มีชื่อเสียงด้ายการอ่าน Volume ในอดีตที่ผ่านมาอีกมากมาย ก็มักจะ แยก พฤติกรรมของ Price และ Volume ออกมาต่างหาก อีก 2 แบบ คือ Buying Climax และ Selling Climax ที่จะเป็นแท่งราคาที่มี Volume มากมายผิดปกติแตกต่างจาก แท่งราคาอื่นๆ รอบข้าง อย่างเป็นได้ชัด ...
และ แท่งราคา Buying Climax และ Selling Climax นี้ล่ะ ที่จะเป็นแท่งราคาที่จะแสดงให้เราเห็นว่า แรงซื้อ และแรงขาย ของตลาดกำลังจะกลับทิศทางแล้ว
Buying Climax เป็นสภาวะราคาที่ มีการเขาไปไล่ซื้อหุ้นจำนวนมากๆ ของมวลชนในระยะเวลาอันรวดเร็ว และเป็นจุดที่รายใหญ่ จะขายของออกมาให้
Selling Climax จะเจอในบริเวณใกล้จุดต่ำ ที่ราคาใกล้จะกลับตัวเป็นขาขึ้น แรงขายออกจนราคาลงมาลึก เมื่อเกิด Climax จะเป็นแนวราคาที่ รายใหญ่ รับซื้อไม่อั้น สิ่งที่เกิดตามมา คือ หลังจากเกิด Selling Climax ราคาแทบจะหยุดการลงทันที
แต่การดู Volume กับ Price เทียบกันก็เป็นเรื่องไม่ง่าย ต้องใช้การสังเกตุ และการตีความ ด้วยประสบการณ์ ในการเทรดจริง อีก พอสมควร ... ไม่ขอ อธิบาย ตรงนี้เยอะ เดี๋ยวจะผิดประเด็น ของบทความนี้ ... เอาเป็นว่า ... จะดีไหม ถ้าแท่งราคา มันอ้วนได้ ผอมได้ ตาม Volume ที่เกิดขึ้น ของแท่งราคา นั้นๆ ... แท่งนี้ กิน Bid-Offerr เข้าไปเยอะ พุงกาง อ้วนเป็นตุ่ม เลย กับอีกแท่งนึง กิน Bid-Offer เข้าไปน้อยเหลือเกิน ก็จะผอมๆ ...
ด้วยแนวความคิดนี้ Richard W. Arms. Jr. ได้พัฒนา กราฟ EquiVolume ขึ้นมา ซึ่งจะเป็นกราฟราคาที่สามารถแสดง ข้อมูล 2 มิติ ไว้ในแท่งเดียวกัน คือ บอกทั้ง ราคา และ Volume
EquiVolume จะเป็นแท่งราคา สี่เหลี่ยมตันๆ ไม่มีหาง ขอบบนของแท่ง คือ High Price ขอบล่างของแท่ง คือ Low Price ส่วนความกว้างของแท่งราคา บอก Volume แต่จะไม่ได้บอก Volume เป็นตัวเลข แต่จะเป็นการสร้างกราฟ ให้เกิดการเปรียบเทียบขนาด ของ Volume แท่งล่าสุด กับ Volume ที่ผ่านทั้งหมดในอดีตย้อนหลังไป 4 เดือน ในการฟรายวัน Day Chart ก็ประมาณคร่าวๆ ย้อนหลังไป 100 แท่ง แล้วคำนวณ ออกมาเป็น สัดส่วน Volume ของแต่ละแท่ง เทียบกับ Volume ย้อนหลังทั้งหมด แล้ววาดออกมาเป็น แท่งราคาต่างๆ ที่มี ความอ้วนผอมแตกต่างกัน ไป
สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ จะสามารถเห็นกราฟ แล้วเข้าใจได้ ทันทีเลยว่า แท่งราคาไหน มี Volume มาก แท่งไหน Volume น้อย ... (ตามภาพกราฟ ตัวอย่างด้านล่าง)
.
ขอบคุณภาพประกอบสวยๆ จาก StockCharts.com
(http://stockcharts.com/school/doku.php?id=chart_school:chart_analysis:equivolume)
ข้อดี เราเห็นกันไปแล้ว ดังนั้นแท่งราคาไหน ที่มี Volume มากๆ ก็จะมองว่าเป็นแนวรับแนวต้าน สำคัญได้ หรือ เวลาที่ราคา Break Out แล้วแท่งราคาที่ Break อ้วนกว่า ก็แสดงว่า ราคามีพลังมากพอที่จะ Break ทะลุไปได้ หรือ เวลาที่ ราคาวิ่งขึ้น แล้ว พักตัวลงมา ถ้าราคา วิ่งขึ้น อ้วน แต่ตอนพักตัวเล็กผอมๆ ก็อาจจะแค่ พักตัวเพื่อไปต่อ .. แต่ถ้าวิ่งขึ้น อ้วนๆ ถอยก็อ้วนๆ ...ฮึๆ ลงจริง
.
แต่มันก็มีข้อเสีย ก็คือ ...แกน X ของกราฟ ซึ่งเป็นแกนเวลา ก็จะมีความกว้างไม่เท่ากัน เพราะ ขนาดของแท่งราคา ที่อ้วนผอมไม่เท่ากัน ...ดังนั้น ช่วงเวลาที่ หุ้น ไม่มีการซื้อขายกัน แกน X ก็จะแคบ ไปเลย ... และปัญหาที่ตามมาอีกอย่างก็คือ เวลาที่ หุ้นมีการ แตกพาร์ ทำให้จำนวนหุ้นในตลาดมีมากขึ้น Volume ก่อนแตกพาร์ และหลังแตกพาร์ ก็อาจจะใช้เปรียบเทียบกันไม่ได้ ...
EquiVolume Bar มี สองสี คือ เขียว-แดง หรือบางกราฟ อาจจะเป็นสีดำ-แดง เงื่อนไขของสีของแท่งราคา คือ Close Price
Green สีเขียว = Close Price สูงกว่า Close Price ของแท่งก่อนหน้า
Red สีแดง = Close Price ต่ำกว่า Close Price ของแท่งก่อนหน้า
* Close price เท่ากัน บางกราฟ ก็ใช้สีเดียวกับกับ แท่งก่อนหน้า หรือ บางกราฟ ก็ใช้อีกสีเป็นสีที่สาม เช่น สีน้ำเงิน เป็นต้น
แต่จะเห็นว่าใน EquiVolume กราฟ ปกติ ไม่มี Close Price เพราะว่าเป็นแท่งตันๆ บอกแต่ High Price กับ Low Price ดังนั้นจึงมีการพัฒนา รูปแบบการแสดงผล ใส่ Close Price เพิ่มเข้าไป กลายเป็น
EquiVolume Shadow Chart
Close Price จะแสดงผล ออกมาเป็น ช่องสีขาว เปรียบเสมือนหางของ Candlestick
ถ้าแท่งราคาเป็น สีเขียว ช่องสีขาวจะอยู่ ด้านบน แสดงระยะระหว่าง Close Price กับ High Price .... ถ้า ช่องสีขาว กว้าง แสดงว่า ราคาปิด Close Price ถอยลงมาลึก อาการเหมือนหางด้านบนของ Candlestick ยาว
ถ้าแท่งราคา เป็น สีแดง ช่องสีขาวจะอยู่ ด้านล่าง แสดงระยะระหว่าง Close Price กับ Low Price .... ถ้า ช่องสีขาว กว้าง แสดงว่า ราคาปิด Close Price เด้งขึ้นมาสูง อาการเหมือนหางด้านล่างของ Candlestick ยาว
ในกราฟ บางโปรแกรม ถ้าราคา Close Price เท่ากับ Close Price ของแท่งก่อนหน้า แท่งราคาก็อาจจะเป็น สีน้ำเงิน หรือสีอื่น ส่วน Showdow ช่องสีขาว ก็จะเป็นไปตามแท่งก่อนหน้า ว่าอยู่ด้านล่างหรืออยู่ด้านบน
เแต่เนื่องจาก EquiVolume Shadow เป็นเรื่องใหม่ ยังไม่เป็นที่นิยม และไม่ได้มีมาตรฐาน ในการกำหนดเงื่อนไขไว้ชัดเจน ทำให้ในโปรแกรมกราฟ ต่างๆ อาจจะมีการแสดงผลแตกต่างกันไป .... หรือบางโปรแกรม ก็ไม่มีให้ ใช้
สำหรับ การดูราคาหุ้นในประเทศไทย มีเพียงกราฟของ eFinanceThai ที่สามารถแสดงผลได้ แต่ก็ยังกำหนดค่าแสดงผลของสีแท่งราคา ต่างออกไปจาก ตันฉบับของ Richard Arms อยู่เล็กน้อย
สามารถ ตั้งกราฟ ได้ โดย เข้าไป ที่ Chart Setting แล้วเปลี่ยน Price Style จาก Candlestick ให้เป็น EquiVolumeShadow ... ซึ่งใน Style ยังสามารถเลือก EquiVolume แบบปกติ ที่ไม่มี Close Price ก็ได้ หรือ จะใช้ CandleVolume ที่เป็น แท่ง CandleStick แล้วอ้วนผอม ตามขนาดของ Volume เหมือนเงื่อนไขของ EquiVolume แต่ยังใช้แท่งราคาเป็นแท่ง CandleStick ก็มีให้เลือก ....โปรแกรมฟรี ... มีของเล่นเยอะดีจัง ....
แต่อย่างที่บอกไว้ เงื่อนไข สีของ EquiVolume Shadow ใน eFin ไม่เหมือนต้นฉบับ จากในภาพจะเห็นว่า มี 3 สี คือ Up เขียว , Down แดง และ NoChg น้ำเงิน ..... เงื่อนไขของสีตรงนี้ ยังเป็นการเทียบ Open Price กับ Close Price แบบ แท่ง Candlestick ปกติ คือ
Up = Close price สูงมากกว่า Open Price
Down = Close price ต่ำกว่า Open Price
NoChg = Close กับ Open เท่ากัน
ไม่ได้ เปลี่ยนสี เมื่อเทียบกับ Close price ของแท่งก่อนหน้า อย่างที่ Richard Arms กำหนดไว้
คราวนี้ มาดู ความหมายกันดีกว่า ว่า EquiVolume Shadow อธิบาย อะไร ให้เราเข้าใจ พฤติกรรมของราคากันได้บ้าง
ความสูง ของแท่งราคา (Range) คือ ระยะห่างของ High price กับ Low price บ่งบอกความเร็ว และความผันผวน ของการเคลื่อนที่ของราคา ใน แท่งราคานั้นๆ
ความกว้าง (Wide) คือ สัดส่วนของ Volume บอกปริมาณการซื้อขาย ที่เกิดขึ้นในแท่งราคานั้น เทียบกับ 100 แท่งที่ผ่านมา โดยประมาณ
ดังนั้น จะเกิด รูปทรงของแท่งราคา 4 กลุ่ม ที่จะแสดงพฤติกรรมของ Demand Supply หรือ แรงซื้อ แรงขาย ที่เกิดขึ้นในแท่งราคานั้น
แบบแรก Narrow - Easy Movement
จุดเด่น คือ แท่งราคาจะผอม ส่วนความสูง มาก
แสดงผล ว่า ในแต่ละระดับราคาในแท่งนี้ เกิด Transaction ในการซื้อขาย น้อย มี Volume น้อย แต่ความสูงมาก ราคามีการเคลื่อนที่ได้หลายช่อง
แปลความ คือ เป็นแท่งราคาที่ มีคามผันผวนสูง เปลี่ยนแปลงง่าย ทิศทางไม่ชัดเจน ดังนั้นในแท่งราคาถัดไป ราคาจะขึ้นหรือลงก็ได้
Easy Movement ก็คือ ราคาวิ่งผ่านแท่งราคานี้ได้ง่าย ... บริเวณระดับราคาที่มีแต่แท่งราคาแบบนี้ มากๆ จึงไม่ใช่แนวรับ แนวต้าน
แบบสอง Square - Difficult Movement
จุดเด่น คือ แท่งราคาจะเล็กสั้น ความกว้างน้อยจนถึงปานกลาง ทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส
แสดงผล ว่า เกิด Transaction ในการซื้อขาย น้อย มี Volume น้อย และราคาก็เคลื่อนที่แคบๆ
แปลความ คือ เป็นแท่งราคาที่ไม่ค่อยขยับ จะเกิดในช่วงที่มีการพักตัว หรือ ยังไม่มีทิศทางชัดเจนว่าราคาจะไปทางไหน ... ไม่เกิดการซื้อขาย ราคาจะนิ่งๆ ไม่ผันผวน
ถ้าเกิดต่อจากแท่งราคาที่วิ่งแรง Square Bar ที่เกิดขึ้นจะเป็นสัญญาณของการชะลอตัว
แบบสาม OverSquare
จุดเด่น คือ แท่งราคาจะอ้วนมาก แต่ Range สั้น
แสดงผล ว่า เกิด Transaction ในการซื้อขายมากมาย และราคาเคลื่อนที่แคบๆ
เป็นอาการของ Climax Bar จะพบในการกลับตัวของทิศทางของราคา
OverSquare Bar หลังจากราคาวิ่งขึ้น จะดูดรับแรงซื้อ จนราคาหยุดวิ่งขึ้น
OverSquare Bar หลังจากราคาวิ่งลง จะดูดรับแรงขายหมด จนราคาหยุดลง
แบบสี่ Power
จุดเด่น คือ แท่งราคาจะอ้วนมาก และ Range ยาว
แสดงผล ว่า เกิด Transaction ในการซื้อขายมากมาย และราคาเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว
Power Green Bar ราคาวิ่งขึ้นอย่างรุนแรง ไล่ราคาขึ้น
Power Red Bar ราคาวิ่งลง อย่างแรง ขายทิ้งลงมา
White Shadow ที่เกิดขึ้น จาก Close Price ที่ห่างจาก High price ในแท่งเขียว และ ห่างจาก Low price ในแท่งแดง จะแสดงแรงซื้อขายที่เกิดขึ้นใน แท่งราคานั้น
ถ้า Shadow แคบ หรือ ไม่มีเลย แสดงว่า ราคามี Trend ชัดเจน
ถ้า Shadow กว้าง แสดงว่า ราคา มีอาการ เหวี่ยงตัว Trend อ่อนแรง
ตัวอย่าง ของ EquiVolume Shadow ที่แสดงพฤติกรรมราคาออกมาให้เห็น
KTC 60 min จะเห็นได้ชัดเจน ของพฤติกรรมราคาในแต่ละช่วงที่เกิดขึ้น ... โดยเฉพาะ แท่ง OverSquare สีเขียวที่รับแรงขาย จนราคาหยุดลง และ ค่อยๆ ยกตัวกลับขึ้นมา
อีกสักตัวอย่าง ใน Time Frame เล็กๆ
S50M15 , 30 min แท่งราคาที่ Break Down ลงมา มี ขนาดใหญ่กว่า แท่งราคาที่เป็น แนวรับ
แสดง ชัดเจนว่า แรงขาย มี เยอะมาก
แสดง ชัดเจนว่า แรงขาย มี เยอะมาก
EquiVolume Shadow Chart เป็น เครื่องมือ อีก หนึ่งอย่างที่ใช้ในการสะท้อนพฤติกรรมของมวลชนที่ทำการซื้อขาย ออกมาได้อย่าง ตรงไป ตรงมา
เรื่อง ของ Volume ยังมี อะไร ที่น่าสนใจอีกมาก หาก เราสามารถ เข้าใจปริมาณซื้อขาย ได้ โดยตรง ที่จะสามารถ เข้าใจ พฤติกรรม ของ Buyer และ Seller ได้ เป็นอย่างดี
.... ขอให้ ทุกท่าน พบหนทางในการลงทุนของตนเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น